บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด
ดำเนินธุรกิจผลิต นำเข้า ส่งออก และจัดจำหน่าย
สารวัลคาไนซ์,
Vulcanizing
agent, ยาสุก, Curing Agent, สารทำให้ยางคงรูป,
เคียวริ่งเอเจนท์, สารเคียวริ่งยาง, UD1
ซัลเฟอร์ผง,
ซัลเฟอร์ มาสเตอร์แบทช์, กำมะถันผง, กำมะถัน มาสเตอร์แบทช์, กำมะถันเม็ด, Sulphur, Sulfur
สามารถสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
และข้อมูลการใช้งานเพิ่มเติมได้ที่
ฝ่ายขายและการตลาด บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล
จำกัด
36/1 หมู่ที่ 9 ตำบลนาดี อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000
โทร 034496284, 034854888, 0861762992,
0824504888, 0868850111
อีเมลล์แอดเดรส polychemicals888 (at) gmail (dot) com, Line
id: wuttpcc
รายการสินค้าในกลุ่ม
Curing Agent, สารทำให้ยางคงรูป, Vulcanizing
agent, สารวัลคาไนซ์
Sulfur, Sulphur (S), ซัลเฟอร์, ซัลเฟอร์ผง,
ซัลเฟอร์เม็ด, กำมะถัน, กำมะถันผง, กำมะถันเม็ด
Sulfur masterbatch, Sulphur masterbatch, ซัลเฟอร์
มาสเตอร์แบทช์, กำมะถัน มาสเตอร์แบทช์
Dithiodimorpholine (DTDM), ไดไทโอมอร์โฟลีน
(ดีทีดีเอ็ม)
DicumylPeroxide (DCP), ไดคิวมิลเปอร์ออกไซด์ (ดีซีพี)
รายการสินค้าในกลุ่ม
Accelerator, สารตัวเร่งปฏิกิริยาการคงรูปยาง
ที่บริษัท
ฯ จำหน่าย ได้แก่
Diphenylguanidine (DPG), ไดฟีนิล กัวนิดีน
(ดีพีจี)
2-Mercaptobenzothiazole
(MBT),
2-เมอร์แคพโตเบนโซไตรอาโซล (เอ็มบีที)
Dibenzothiazyldisulfide (MBTS),
ไดเบนโซไทอาซิลไดซัลไฟด์ (เอ็มบีทีเอส)
N-Cyclohexylbenzothiazole-2-sulfonamide
(CBS),
ไซโคลเฮกซิลเบนโซไทอาโซล-2-ซัลโฟนาไมด์ (ซีบีเอส)
Tetramethylthiuramdisulfide
(TMTD), เตตระเมทิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ (ทีเอ็มทีดี)
Tetramethylthiurammonosulfide (TMTM), เตตระเมทิลไทยูแรมโมโนซัลไฟด์
(ทีเอ็มทีเอ็ม)
Dipentamethylenethiuram
tetrasulfide (DPTT),
ไดเพนตะเมทิลีนไทยูแรมเตตระซัลไฟด์ (ดีพี
Zinc
dimethyldithiocarbamate (ZDMC), ซิงค์ไดเมทิลไดไทโอคาร์บาเมต
(แซทดีเอ็มซี)
Zinc
dibuthyldithiocarbamate (ZDBC), ซิงค์ไดบิวทิลไดไทโอคาร์บาเมต
(แซทดีบีซี)
Tetrabutylthiuramdisulphide
(TBTD), เตตระบิวทิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ (ทีบีทีดี)
Tetrabenzyl thiuram disulphide (TBzTD),
เตตระเบนซิล ไทยูแรม ไดซัลไฟด์
รายการสินค้าในกลุ่ม
Activator, สารกระตุ้นปฏิกิริยา, Retardant agent, สารหน่วงไฟ
Zinc oxide (ZnO),
ZnO 99.0%, Redseal
Zinc oxide (ZnO),
ZnO 99.5%, Whiteseal
Zinc oxide (ZnO),
ZnO, 99.8%,Goldseal
Zinc oxide masterbatch, ซิงค์ออกไซด์, ซิงค์ออกไซด์ มาสเตอร์แบทช์
Antimony trioxide (Sb2O3), แอนติโมนีไตรออกไซด์
สารเคมียาง,
สารเติมแต่งในสูตรยาง, Rubber Additive Masterbatch
สารเคมีในรูป มาสเตอร์แบทช์, Masterbatch ที่
บจก.ไทยโพลีเคมิคอล ผลิตและจำหน่าย มีทั้งแบบเม็ดและแผ่น
โดยการผสมสารเคมีที่เป็นแบบผงเข้ากับยางที่เป็นตัวยึดเกาะ (binder) ทำให้ได้สารเคมีในรูปมาสเตอร์แบทช์, Masterbatch
ชนิดต่างๆ ได้แก่ สารตัวเร่งปฏิกิริยาการคงรูปยาง (Accelerator), สารทำให้ยางคงรูป (Curing agent), สารวัลคาไนซ์, ยาสุก (Vulcanizing
agent), สารกระตุ้นปฏิกิริยา (Activator), สารหน่วงไฟ (Retardant agent) และสารเคมีอื่นๆ (Other agent, Rubber additive) ซึ่งเมื่อเทียบกับสารเคมีแบบผง
จะเห็นได้ว่าผลิตภัณฑ์ ในรูปแบบ มาสเตอร์แบทช์ (Masterbatch) สามารถควบคุม จัดการดูแล และจัดเก็บได้ง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย
ง่ายต่อการชั่งน้ำหนัก และมีความสามารถในการกระจายตัวที่ดี ใช้เวลาในการผสมที่น้อยกว่า
จึงส่งผลให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยในเรื่องของการลดต้นทุนในส่วนของการใช้เวลาและทรัพยากรในการทำความสะอาด
หรือพนักงานต้องหยุดงานจากการใช้สารเคมีแบบผง อาทิเช่น การแพ้สารเคมีจากการสัมผัส หรือการสูดดมสารเคมีขณะทำงาน, การฟุ้งกระจายของสารเคมี และอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนกับเครื่องจักรในบริเวณใกล้เคียงได้อีกด้วย
เป็นต้น ดังนั้นผลิตภัณฑ์ของ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล ที่เป็นสารเคมีในรูป มาสเตอร์แบทช์ (Masterbatch) นี้ จะช่วยให้สภาพแวดล้อมในการทำงานดีขึ้น ป้องกันการฟุ้งกระจายของสารเคมีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งสะดวกต่อการทำงาน ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
รวมทั้งก่อนให้เกิดประสิทธิภาพสุงสุดต่อการทำงานอีกด้วย
สารวัลคาไนซ์, Vulcanizing agent, ยาสุก, Curing Agent, สารทำให้ยางคงรูป,
สารวัลคาไนซ์
คือ สารที่ทำให้โมเลกุลยางเกิดการเชื่อมโยงกันเป็นโครงสร้างตาข่าย 3 มิติ
ผ่านปฏิกิริยาเคมีที่เรียกว่า ปฏิกิริยาวัลคาไนซ์เซชัน
ยางวัลคาไนซ์ที่ได้มีความยืดหยุ่นสูง
และมีสมบัติที่เสถียรไม่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิมากนัก การวัลคาไนซ์ยางที่ใช้กันมากในโรงงานอุตสาหกรรมสามารถแบ่งออกได้เป็น
3 ระบบใหญ่ๆ ได้แก่ ระบบกามะถัน ระบบเพอร์ออกไซด์ และระบบที่ใช้สารเคมีอื่นๆ
2.1 กำมะถัน (sulfur)
กำมะถัน เป็นสารวัลคาไนซ์ที่ใช้กันมากที่สุดในอุตสาหกรรมยางเพราะเป็นระบบที่มีต้นทุนต่า
ปฏิกิริยาวัลคาไนซ์สามารถเกิดขึ้นได้เร็ว และยางวัลคาไนซ์ที่ได้มีสมบัติเชิงกลที่ดี
ระบบนี้นิยมใช้กับยางทุกชนิดที่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล
โดยเฉพาะยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ส่วนใหญ่ เช่น SBR, IR, BR, NBR เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีข้อจำกัดหลัก คือ
ไม่สามารถใช้วัลคาไนซ์ยางที่ไม่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล เช่น ยางซิลิโคน หรือยาง EPM ได้
2.2 เพอร์ออกไซด์, เปอร์ออกไซด์ (peroxide)
แม้ว่าการวัลคาไนซ์ด้วยเพอร์ออกไซด์
จะสามารถใช้ได้ดีกับยางส่วนใหญ่ (ทั้งที่มีพันธะคู่และไม่มีพันธะคู่ในโมเลกุล)
แต่เนื่องจากระบบนี้มีต้นทุนสูงกว่าระบบการวัลคาไนซ์ด้วยกำมะถัน และยางวัลคาไนซ์ที่ได้มีสมบัติทั้งเชิงกลและเชิงพลวัต
ต่ำกว่ายางที่ได้จากการวัลคาไนซ์ด้วยกำมะถัน ประกอบกับเพอร์ออกไซด์ จัดเป็นสารเคมีที่ค่อนข้างอันตราย
การขนย้ายและการเก็บรักษาต้องทำด้วยความระมัดระวัง
ดังนั้นการวัลคาไนซ์ด้วยเพอร์ออกไซด์นั้น จึงนิยมใช้กับยางที่ไม่มีพันธะคู่ในโมเลกุล
(เช่น EPM, EVA, CPE หรือ Q เป็นต้น) หรือยางที่มีปริมาณพันธะคู่ในโมเลกุลต่ำมากเท่านั้น
(เช่น HNBR, EPDM) สาหรับยางอื่นๆ
นิยมวัลคาไนซ์ด้วยกามะถันมากกว่า ยกเว้นกรณีที่ต้องการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ทนต่อความร้อนได้ดีและ,หรือมีค่าการเสียรูปถาวรหลังกด
(compression set) ต่ำเท่านั้น
2.3 สารเคมีอื่นๆ
นอกจากระบบหลักๆ
2 ระบบดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีการนำสารวัลคาไนซ์ชนิดอื่นๆ
มาใช้ในการคงรูปด้วยเช่นกัน แต่มีการใช้น้อยหรือใช้ในกรณีที่จาเป็น เช่น
การใช้โลหะออกไซด์ (แมกนีเซียมออกไซด์ร่วมกับซิงก์ออกไซด์) ในการคงรูปของยางคลอโรพรีน
(chloroprene; CR) หรือการใช้สารประกอบในกลุ่มควิโนนไดออกไซม์
นิยมใช้ในการวัลคาไนซ์ยาง IIR เป็นต้น
นอกจากสารที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว
บจก.ไทยโพลีเคมิคอล ยังเป็นผู้ผลิต นำเข้า ส่งออก และจำหน่าย สารเคมียาง, สารเติมแต่งยาง (Rubber
additive) อีกหลายรายการได้แก่
Accelerator,
สารตัวเร่งปฏิกิริยาการคงรูปยาง
Activator,
สารกระตุ้นปฏิกิริยา
Antidegradants, สารป้องกันการเสื่อมสภาพ
Antioxidant, แอนตี้ออกซิแดนท์, สารกันเสื่อม, สารกันเหลือง
Barium Stearate, แบเรียมสเตียเรต, แบเรียมสเตียเรท
Barium Sulphate, Barium Sulfate,
BaSO4, แบเรียมซัลเฟต, แบเรียซัลเฟท
Blowing agent,
โบลวิ่งเอเจ้น, สารช่วยโฟม, สารช่วยฟู,
ยาพอง
Calcium Stearate, แคลเซียมสเตียเรต, แคลเซียมสเตียเรท
Carbon Black, N330,
N550, N660, N774, คาร์บอนแบลค, ผงเขม่าดำ
Curing agent,
เคียวริ่งเอเจ้น, สารช่วยให้ยางคงรูป
Filler, Talcum, Calcium Carbonate,
ฟิลเลอร์, สารเติมเต็ม, ทัลคัม,
แคลเซียมคาร์บอเนต
Foaming agent,
โฟมมิ่งเอเจ้น, สารช่วยให้เกิดโฟม, สารช่วยให้เกิดฟอง,
สารช่วยโฟม
Lauric acid, ลอริกแอซิด, ลอริกเอซิด, กรดลอริก
Lead Stearate, ลีดสเตียเรต, เลดสเตียเรต
Magnesium Stearate, แมกนีเซียมสเตียเรต, แมกนีเซียมสเตียเรท
Oxalic acid, ออกซาลิกแอซิด, ออกซาลิกเอซิด, กรดออกซาลิก
Paraffin wax, Paraffin oil, พาราฟินแวกซ์, พาราฟินออยล์, น้ำมันพาราฟิน
Pigment, Colorant, พิกเมนต์, แม่สี, สีผง
Plasticizer, DOP,
DINP, DOTP, EPO, น้ำมันพลาสติไซเซอร์, ดีโอพี,
ดีไอเอ็นพี, ดีโอทีพี, อีพีโอ
Polyethylene wax, PE wax, โพลีเอทิลีนแวกซ์, พีอีแวกซ์
Potassium Hydroxide, KOH, โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์, โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
Retardant agent, Flame
retardant, สารหน่วงไฟ, สารหน่วงการติดไฟ
Rubber oil, Rubberflex, Rubber
Process Oil, รับเบอร์ออยล์, รับเบอร์เฟลกซ์
Silica, Silicon Dioxide, SiO2, ซิลิก้า, ซิลิกอนไดออกไซด์
Softener, สารทำให้ยางนิ่ม, สารทำให้อ่อนตัว
Stearic acid, Stearic acid rubber, Stearic triple, สเตียริกแอซิด, กรดสเตียริก
Sulphur powder, Sulphur
masterbatch, Sulfur, กำมะถันผง, กำมะถันเม็ด, กำมะถัน มาสเตอร์แบทช์
Titanium Dioxide, TiO2,
ทิทาเนียมไดออกไซด์, ไททาเนียมไดออกไซด์
UV absorber, UV stabilizer, ยูวีแอพซอร์บเบอร์, ยูวีสเตบิไลเซอร์, สารป้องกันรังสียูวี
Vulcanizing agent,
สารวัลคาไนซ์, วัลคาไนซิ่งเอเจนท์, ยาสุก
White Oil, ไวท์ออยล์, น้ำมันไวท์ออยล์, น้ำมันแก้ว, น้ำมันขาว
Zinc
Oxide, Zinc Oxide Masterbatch, ZnO, ซิงก์ออกไซด์, ซิงค์ออกไซด์ มาสเตอร์แบทช์
Zinc
Stearate, ซิงค์สเตียเรต, ซิงก์สเตียเรต, ซิงค์สเตียเรท, ซิงก์สเตียเรท
เคมีภัณฑ์ รายการอื่นๆ
นอกเหนือจากที่ระบุไว้ข้างต้น สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า
และข้อมูลการใช้งานเพิ่มเติมได้โดยตรงที่ ฝ่ายขายและการตลาด บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล
จำกัด
36/1 หมู่ที่ 9 ตำบลนาดี อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000
โทร 034496284, 034854888, 0861762992,
0824504888, 0868850111
อีเมลล์แอดเดรส, polychemicals888 (at)
gmail (dot) com, Line id: wuttpcc
POLY CHEMICALS FOR A
BETTER LIFE, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต